พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เหรียญรุ่นแรก เ...
เหรียญรุ่นแรก เนื้อเงิน หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2530 (เนื้อเงินสร้างน้อยหายาก)
กระทู้เผยแพร่ 01 18/05/67

เหรียญรุ่นแรก เนื้อเงิน หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2530 (เนื้อเงินสร้างน้อยหายาก)

หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อายุ 69 ปี 47 พรรษา

วัดบ้านนาซาว หรือ วัดสระแก้วนาซาว ตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ บ้านนาซาว ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี วัดบ้านนาซาวตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๗ โดยคนที่อพยพมาจากอำเภอราศีไศลและอำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ชาวบ้านมาตั้งหมู่บ้านจึงได้สร้างวัดบ้านนาซาวเป็นวัดประจำหมู่บ้าน โดยมีโบราณสถานที่สำคัญ ได้แก่ กุฏิ จำนวนทั้งสิ้น ๒ หลัง

. กุฏิหลังที่ ๑ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๑ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๑ ชั้น ก่ออิฐถือปูนบนฐานเอวขัน ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๗ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก โครงสร้างอาคารใช้ผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว โดยต่อหลังคาปีกนกเฉพาะด้านทิศใต้ ใช้เสาก่ออิฐสี่เหลี่ยมรับน้ำหนักหลังคาปีกนก มุงกระเบื้องดินเผา ประดับช่อฟ้า (โหง่) ใบระกาและหางหงส์ หน้าบันเป็นปูนฉาบเรียบ ตกแต่งลายบัวฟันยักษ์ด้านล่าง ผนังแต่ละด้านมีหน้าต่าง ๓ ช่อง สลับกับการทำช่องแสงรูปกากบาท ยกเว้นผนังด้านทิศใต้เป็นประตูทางเข้ามี ๒ ประตู ภายในแบ่งเป็น ๒ ห้อง ด้วยผนังไม้ที่สร้างขึ้นภายหลัง ด้านทิศเหนือภายในกุฏิมีแท่นฐานยาวตลอดทั้งผนัง

. กุฏิหลังที่ ๒ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๒ ชั้น ชั้นล่างก่ออิฐถือปูน ชั้นบนเป็นไม้ โดยเครื่องไม้ที่ใช้เป็นไม้ตะเคียนทั้งหมด อาคารอยู่ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๓ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ โครงสร้างอาคารใช้เสาไม้กลมและผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว ต่อหลังคาปีกนกสั้นๆ ด้านทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก ในอดีตมุงกระเบื้องดินเผาปัจจุบันมุงด้วยสังกะสี ตกแต่งด้วยป้านลมแบบเรียบ หน้าบันตีไม้ในลักษณะช่องสี่เหลี่ยมเรียงตามแนวนอนซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป ผนังชั้นล่างด้านทิศตะวันออกก่ออิฐเป็นวงโค้ง จำนวน ๓ ช่อง เพื่อเป็นประตู เสากรอบประตูเป็นวงโค้งแต่งบัวหัวเสาและนาค บานประตูเป็นไม้แผ่นแกะสลักรูปดอกไม้บริเวณอกเลา ผนังชั้นบนตีไม้ตามแนวดิ่ง มีหน้าต่างในด้านทิศเหนือ-ทิศใต้ จำนวนด้านละ ๒ ช่อง มีหน้าต่างในด้านทิศตะวันออก ๓ ช่อง ยกเว้นด้านทิศตะวันตกไม่มีหน้าต่าง คันทวยเป็นไม้ค้ำยันจากฐานถึงโครงสร้างหลังคา บันไดทางขึ้นอยู่ด้านในอาคาร

. กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๒๖ ง หน้า ๑๑ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ พื้นที่โบราณสถานประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๘ ตารางวา วัดบ้านนาซาวเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองโบราณสถานและมีสำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี ร่วมดูแลรักษา

--------------------------------------------

+++อ้างอิงจาก+++

. กองพุทธศาสนสถาน, กรมการศาสนา. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา,

๒๕๓๘. หน้า ๑๑๙

. สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี. รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดบ้านนาซาว ต.โนนรัง

อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี. เอกสารอัดสำเนา, ๒๕๔๔.

. สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี. โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแล้วในพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี

(เล่ม ๑ : จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดยโสธร จังหวัดมุกดาหาร). อุบลราชธานี : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๖๓.

ข้อมูล : กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี
ผู้เข้าชม
253 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
มุทิตา
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
aronin
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
322162642xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Le29Amuletเจริญสุขว.ศิลป์สยามบ้านพระสมเด็จก้อง วัฒนาบ้านพระหลักร้อย
ชา วานิชชาวานิชปลั๊ก ปทุมธานีjazzsiam amuletยอด วัดโพธิ์TotoTato
น้ำตาลแดงkumphatermboonพีพีพระสมเด็จภูมิ IRNithiporn
ep8600nattapong939digitalplusขวัญเมืองPoosuphan89tintin
fuchoo18AchitumlawyerMuthitaเทพจิระพีพีพระเครื่อง

ผู้เข้าชมขณะนี้ 667 คน

เพิ่มข้อมูล

เหรียญรุ่นแรก เนื้อเงิน หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2530 (เนื้อเงินสร้างน้อยหายาก)




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เหรียญรุ่นแรก เนื้อเงิน หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2530 (เนื้อเงินสร้างน้อยหายาก)
รายละเอียด
กระทู้เผยแพร่ 01 18/05/67

เหรียญรุ่นแรก เนื้อเงิน หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2530 (เนื้อเงินสร้างน้อยหายาก)

หลวงพ่ออุปัชฌาย์บัว ปัญญาธโร วัดบ้านนาซาว อายุ 69 ปี 47 พรรษา

วัดบ้านนาซาว หรือ วัดสระแก้วนาซาว ตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ บ้านนาซาว ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี วัดบ้านนาซาวตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๗ โดยคนที่อพยพมาจากอำเภอราศีไศลและอำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ชาวบ้านมาตั้งหมู่บ้านจึงได้สร้างวัดบ้านนาซาวเป็นวัดประจำหมู่บ้าน โดยมีโบราณสถานที่สำคัญ ได้แก่ กุฏิ จำนวนทั้งสิ้น ๒ หลัง

. กุฏิหลังที่ ๑ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๑ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๑ ชั้น ก่ออิฐถือปูนบนฐานเอวขัน ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๗ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก โครงสร้างอาคารใช้ผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว โดยต่อหลังคาปีกนกเฉพาะด้านทิศใต้ ใช้เสาก่ออิฐสี่เหลี่ยมรับน้ำหนักหลังคาปีกนก มุงกระเบื้องดินเผา ประดับช่อฟ้า (โหง่) ใบระกาและหางหงส์ หน้าบันเป็นปูนฉาบเรียบ ตกแต่งลายบัวฟันยักษ์ด้านล่าง ผนังแต่ละด้านมีหน้าต่าง ๓ ช่อง สลับกับการทำช่องแสงรูปกากบาท ยกเว้นผนังด้านทิศใต้เป็นประตูทางเข้ามี ๒ ประตู ภายในแบ่งเป็น ๒ ห้อง ด้วยผนังไม้ที่สร้างขึ้นภายหลัง ด้านทิศเหนือภายในกุฏิมีแท่นฐานยาวตลอดทั้งผนัง

. กุฏิหลังที่ ๒ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๒ ชั้น ชั้นล่างก่ออิฐถือปูน ชั้นบนเป็นไม้ โดยเครื่องไม้ที่ใช้เป็นไม้ตะเคียนทั้งหมด อาคารอยู่ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๓ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ โครงสร้างอาคารใช้เสาไม้กลมและผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว ต่อหลังคาปีกนกสั้นๆ ด้านทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก ในอดีตมุงกระเบื้องดินเผาปัจจุบันมุงด้วยสังกะสี ตกแต่งด้วยป้านลมแบบเรียบ หน้าบันตีไม้ในลักษณะช่องสี่เหลี่ยมเรียงตามแนวนอนซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป ผนังชั้นล่างด้านทิศตะวันออกก่ออิฐเป็นวงโค้ง จำนวน ๓ ช่อง เพื่อเป็นประตู เสากรอบประตูเป็นวงโค้งแต่งบัวหัวเสาและนาค บานประตูเป็นไม้แผ่นแกะสลักรูปดอกไม้บริเวณอกเลา ผนังชั้นบนตีไม้ตามแนวดิ่ง มีหน้าต่างในด้านทิศเหนือ-ทิศใต้ จำนวนด้านละ ๒ ช่อง มีหน้าต่างในด้านทิศตะวันออก ๓ ช่อง ยกเว้นด้านทิศตะวันตกไม่มีหน้าต่าง คันทวยเป็นไม้ค้ำยันจากฐานถึงโครงสร้างหลังคา บันไดทางขึ้นอยู่ด้านในอาคาร

. กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๒๖ ง หน้า ๑๑ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ พื้นที่โบราณสถานประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๘ ตารางวา วัดบ้านนาซาวเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองโบราณสถานและมีสำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี ร่วมดูแลรักษา

--------------------------------------------

+++อ้างอิงจาก+++

. กองพุทธศาสนสถาน, กรมการศาสนา. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา,

๒๕๓๘. หน้า ๑๑๙

. สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี. รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดบ้านนาซาว ต.โนนรัง

อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี. เอกสารอัดสำเนา, ๒๕๔๔.

. สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี. โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแล้วในพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี

(เล่ม ๑ : จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดยโสธร จังหวัดมุกดาหาร). อุบลราชธานี : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๖๓.

ข้อมูล : กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
254 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
มุทิตา
URL
เบอร์โทรศัพท์
0811866147
ID LINE
aronin
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกรุงไทย / 322162642xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี